
เจาะ 5 ประเด็นสำคัญในการขับเคลื่อนวาระการเปลี่ยนแปลงของผู้นำองค์กรอย่างยั่งยืน
ภูมิทัศน์ทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบันทำให้ผู้นำทั่วโลกต้องเผชิญกับความท้าทายในการขับเคลื่อนการเติบโตขององค์กร
ภูมิทัศน์ทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบันทำให้ผู้นำทั่วโลกต้องเผชิญกับความท้าทายในการขับเคลื่อนการเติบโตขององค์กร
โดยข้อมูลล่าสุดจาก ‘รายงานผลสำรวจซีอีโอทั่วโลกประจำปี ครั้งที่ 28 ฉบับประเทศไทย: ปฏิรูปรูปแบบธุรกิจ เพื่อพิชิตโลกอนาคต’ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ ‘รายงานผลสำรวจซีอีโอทั่วโลกประจำปี ครั้งที่ 28 ของ PwC’ พบว่า ซีอีโอในประเทศไทย 30% ที่ได้มีส่วนร่วมในแบบสอบถามกล่าวว่า GenAI ช่วยเพิ่มรายได้ของบริษัทของพวกเขา
‘การทุจริต’ เป็นคำที่คุ้นหูและอยู่คู่กับเมืองไทยและคนไทยมายาวนาน โดยเราทราบดีว่าการทุจริตนั้นสร้างความเสียหายและส่งผลกระทบเชิงลบทั้งในด้านผลประกอบการ ภาพลักษณ์และชื่อเสียง ความเชื่อมั่นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การหยุดชะงักทางธุรกิจ และยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) กำลังกลายเป็นเทคโนโลยีสำคัญที่ช่วยธุรกิจในการรับมือกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ทั้งในส่วนของการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน และการเสริมสร้างการปรับตัวต่อปัญหาสภาพภูมิอากาศ
เริ่มปีพุทธศักราช 2568 แน่นอนว่ายังคงเป็นปีที่เต็มไปด้วยความท้าทายและการเปลี่ยนแปลงมากมายที่ธุรกิจทั่วโลกต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และแรงกดดันจากภายนอกอื่น ๆ
การเปลี่ยนแปลงทั่วโลกสู่เศรษฐกิจที่ยั่งยืนไม่เพียงเป็นสิ่งที่จำเป็น แต่ยังเปิดโอกาสสำคัญมากมายให้กับการลงทุน การสร้างนวัตกรรม และการเติบโต
การที่องค์กรจะสามารถดึงศักยภาพที่แท้จริงของเทคโนโลยี GenAI ออกมาใช้เพื่อพลิกโฉมธุรกิจได้นั้น ต้องเริ่มจาก ‘พนักงาน’ ที่มีความรู้เกี่ยวกับ Gen AI และนำ GenAI ไปใช้งานเป็นประจำ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ได้ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่และการดำเนินธุรกิจขององค์กร รวมทั้งการปฏิบัติงานของลูกจ้าง
ในยุคที่เต็มไปด้วยการเปลี่ยนแปลง บทบาทของประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน (Chief Financial Officer: CFO) ย่อมมีความสำคัญมากขึ้น โดยจะต้องสร้างสมดุลระหว่างการขับเคลื่อนผลการดำเนินงานในระยะสั้นกับการลงทุนระยะยาวเพื่ออนาคต
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ๆ ของโลก (Megatrends) ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาค และสภาพภูมิอากาศ ล้วนส่งผลให้องค์กรในทุกธุรกิจต่างต้องเร่งปรับตัวให้สอดคล้อง
เราทราบกันดีว่าในโลกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ผู้บริหารต่างต้องการให้องค์กรของตนสามารถปรับตัวและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้อย่างรวดเร็ว
‘ความเชื่อมั่น’ ถือเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกธุรกิจต้องการได้รับจากผู้บริโภค โดยรายงานผลสำรวจ Voice of the Consumer Survey 2024 ของ PwC ที่ทำการศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคทั่วโลกจำนวนกว่า 20,000 ราย ใน 31 ประเทศและอาณาเขตทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย
การกำหนดราคาโอนสำหรับธุรกรรมทางการเงิน (financial transactions transfer pricing: FTTP) เป็นประเด็นที่ค่อนข้างใหม่สำหรับประเทศไทย แต่กำลังได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในปัจจุบัน
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์แบบรู้สร้าง Generative AI: GenAI กำลังเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อภาคธุรกิจและกลุ่มอุตสาหกรรมทั่วโลก โดยข้อมูลจากรายงานผลสำรวจซีอีโอทั่วโลกประจำปี ครั้งที่ 27 ฉบับเอเชีย-แปซิฟิกของ PwC พบว่า 65% ของซีอีโอในภูมิภาคนี้คาดว่า GenAI จะเข้ามายกระดับประสิทธิภาพในการทำงาน
ในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันที่ธุรกิจต้องเผชิญกับต้นทุนที่สูงขึ้นสวนทางกับรายได้ที่เติบโตช้าลง ผู้บริหารจึงจำเป็นต้องมีการบริหารต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
ต้องยอมรับว่าตลาดการลงทุนทั่วโลกในปีนี้เต็มไปด้วยความผันผวน ซึ่งในเดือนกันยายนที่ผ่านมา PwC ได้จัดทำรายงาน Global Investor Survey 2023 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักลงทุนทั่วโลกจำนวน 345 ราย เกี่ยวกับปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อบริษัทที่พวกเขาลงทุน
อุตสาหกรรมโทรคมนาคมถือเป็นหนึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมที่ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อผู้บริโภคและภาคธุรกิจ
ท่ามกลางการออกข้อกำหนดใหม่ ๆ ด้านการจัดการและการจัดทำรายงานความยั่งยืน (Sustainability Reporting) กฎการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กลไกการกำหนดราคาคาร์บอน ภาษีสีเขียว และมาตรการจูงใจต่าง ๆ
ประเด็นด้านความยั่งยืน (Sustainability) กำลังส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจไปทั่วโลก ครอบคลุมแทบทุกกลุ่มอุตสาหกรรมไม่เว้นแม้แต่ ‘บริษัทนอกตลาด’ หรือ ‘ไพรเวท อิควิตี้’ (Private Equity) ที่วันนี้กำลังหันมาให้ความสำคัญกับ ‘การสร้างมูลค่า’ (Value Creation) ควบคู่ไปกับการสร้างผลตอบแทนให้กับนักลงทุน
ในโลกที่การใช้จ่ายของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ขณะที่การหาลูกค้าใหม่ หรือการทำให้ลูกค้าเปลี่ยนใจหันมาเลือกซื้อสินค้าและบริการบางประเภท กลายเป็นเรื่องยากสำหรับธุรกิจ
แม้ว่าเศรษฐกิจโลกจะเริ่มฟื้นตัวจากวิกฤตโรคระบาด แต่ธุรกิจยังต้องเผชิญกับความท้าทายในด้านต่าง ๆ ที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น
ในยุคที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกต้องเผชิญกับความท้าทายหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ ภาวะเงินเฟ้อสูง และความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจ
แม้ว่าในปัจจุบันผู้นำธุรกิจและนักลงทุนสถาบันจะเริ่มตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
แม้เราจะผ่านปี 2566 ไปได้เพียงไตรมาสเดียว แต่ผู้บริโภคและบริษัทร้านค้าต่างกำลังเผชิญกับแรงกดดันทั้งจากภายในและภายนอก ไม่ว่าจะการผลิตสินค้าที่ต้องสร้างประสบการณ์ที่ดีและความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคมากขึ้น ขณะที่ความกังวลเกี่ยวกับภาวะเงินเฟ้อ และสถานการณ์เศรษฐกิจที่ยังคงมืดมัวในหลาย ๆ...
เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา PwC ได้เปิดเผยผลสำรวจซีอีโอทั่วโลกประจำปี ครั้งที่ 26 (26th Annual Global CEO Survey) ที่ได้สอบถามความคิดเห็นของซีอีโอจำนวนกว่า 4,000 คนทั่วโลก โดยในจำนวนนี้มีซีอีโอในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกรวมอยู่ด้วยถึง 1,634 คน
ก้าวเข้าสู่ศักราชใหม่ปี 2566 ธุรกิจทั่วโลกยังคงเผชิญกับ ‘ความเสี่ยง’ ในหลากหลายรูปแบบทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก ซึ่งถือเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ในปัจจุบันผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า พนักงาน หน่วยงานตรวจสอบ และนักลงทุน ต่างให้ความสำคัญและต้องการให้ธุรกิจมีการคุ้มครองข้อมูลและความเป็นส่วนตัวไปพร้อม ๆ กับการดำเนินธุรกิจที่คำนึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance: ESG) มากขึ้น
ในช่วงระยะเวลากว่าสองปีที่ผ่านมา ธุรกิจทั่วโลกต่างต้องเผชิญกับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด
เมื่อวันที่ 19-25 กันยายนที่ผ่านมา PwC ในฐานะ Executive Series Sponsor ของงานสัปดาห์ภูมิอากาศ หรือ Climate Week NYC 2022 ที่ถูกจัดขึ้นทุกปี ณ กรุงนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ได้จัดทำรายงานที่น่าสนใจภายใต้ชื่อ Net Zero Economy Index ที่แสดงให้เห็นว่าประชาคมโลกยังคงมีความจำเป็นที่จะต้องลดความเข้มข้นคาร์บอน (Carbon Intensity)...
ปัจจุบัน ‘พลังงานสะอาด’ หรือ ‘พลังงานสีเขียว’ (Green Energy) กลายเป็นหนึ่งในเทรนด์สำคัญที่ภาคอุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ ที่หันมาผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า (Electric Vehicle: EV) และอุตสาหกรรมพลังงาน ที่เปลี่ยนมาผลิตพลังงานทดแทนกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ...
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิดกว่า 2 ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้รูปแบบการเติบโตของธุรกิจต่างๆ ในอุตสาหกรรมสื่อและบันเทิง (Entertainment and Media: E&M) ทั่วโลกมีความผันผวน ตามพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ปรับตัวสู่ดิจิทัลมากขึ้น แต่เมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดเริ่มคลี่คลายลงในปีนี้ จึงอาจทำให้ธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมฯ...
หลังจากที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดเริ่มคลี่คลายลงบ้าง จึงเกิดคำถามว่า พฤติกรรมผู้บริโภค ที่เปลี่ยนไปท่ามกลางวิกฤตในครั้งนี้ จะย้อนกลับไปสู่ยุคก่อนโควิด หรือจะยังคงอยู่ตลอดไป? เพราะนี่ถือเป็นอีกหนึ่งโจทย์สำคัญของผู้ประกอบการที่จะต้องปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับความต้องการ และความคาดหวังของผู้บริโภค...
‘ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก’ มีส่วนสำคัญต่อการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพราะเป็นหนึ่งในภูมิภาคชั้นนำของโลกที่มีประชากรและเศรษฐกิจขนาดใหญ่ แต่เมื่อปี 2563 ที่ผ่านมา ภูมิภาคนี้ กลับมีอัตราการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนเพียง 0.9% เท่านั้น สะท้อนให้เห็นถึง...
ในช่วงปีที่ผ่านมา หลายๆ องค์กรทั่วโลกต้องเผชิญกับ ‘อภิมหาการลาออกของคนทำงาน’ หรือ ‘The Great Resignation’ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะวิกฤตโควิด ทำให้มุมมองชีวิต ความคาดหวัง และความกังวล ของพนักงานในยุคนี้เปลี่ยนไปจากเดิมมาก นี่จึงเป็นความท้าทายของผู้บริหารที่ต้องหันกลับมาทบทวนกลยุทธ์ด้านแรงงาน...
หนึ่งในคำถามที่พบบ่อยที่สุดเกี่ยวกับประเด็นด้านการกำหนดราคาโอน (Transfer pricing หรือ TP) คือ การเข้าทำธุรกรรมระหว่างบริษัทที่มีความสัมพันธ์กันนั้นสอดคล้องกับหลักการอิสระ (Arm’s length principle) หรือไม่ กล่าวคือ ภายใต้สภาวการณ์ที่คล้ายคลึงกัน...
The most important question in transfer pricing (TP) is whether related companies are transacting with each other in the same manner as a transaction made between unrelated companies under comparable circumstances, i.e. whether or not the transaction can be regarded at ‘arm's length’.
การจะเติบโตได้อย่างมั่นคงในยุคปัจจุบัน ธนาคารจะต้องคำนึงถึง ‘ลูกค้า’ เป็นหัวใจสำคัญที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลง (Customer-led Transformation) ต่างๆ ขององค์กร โดยจะต้องเข้าใจขีดความสามารถทางธุรกิจของตัวเองด้วยว่า ยังขาดความสามารถในด้านไหน และจะเติมเต็มความสามารถนั้นๆ ผ่านการจับมือเป็นพันธมิตร...
ต่อเนื่องจากบทความที่แล้ว ‘แนวทางการตั้งราคาโอนสำหรับธุรกรรมทางการเงิน ตอนที่ 1 - การกำหนดอัตราดอกเบี้ยสำหรับธุรกรรม Cash pooling’ ที่ทีม Financial Services Transfer Pricing (FSTP) ของ PwC ประเทศไทย ได้นำเสนอประเด็นเกี่ยวกับการกำหนดอัตราดอกเบี้ยสำหรับธุรกรรม cash pooling รวมถึง หลักการอิสระ หรือที่เรียกกันว่า arm’s...
Our series of deep dives into transfer pricing for financial transactions has already explored cash pooling pricing controversies and the arm’s length principle, which is the cornerstone of intra-group transactions, including intra-group loans. But what factors do you need to consider, in addition to the comparability...
ปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence: AI กำลังถูกจับตามองในฐานะเทคโนโลยีทรงอิทธิพลที่เป็น ‘Game Changer’ ในการยกระดับองค์กรให้ตอบสนองพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปสู่วิถีดิจิทัลมากขึ้น ยิ่งในยุคที่ข้อมูลเปรียบเสมือนขุมทรัพย์ต่อการดำเนินธุรกิจ ยิ่งทำให้ความต้องการโซลูชันใหม่ๆ โดยใช้ AI เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
Marketing and Communications
Bangkok, PwC Thailand
Tel: +66 (0) 2844 1000, Ext. 4713-15, 18, 22-24, 26, 28 and 29